งานระบบเครือข่ายและบริการอินเทอร์เน็ต
Networking Systems and Internet Services

100 คำสั่งบนคีย์บอร์ดที่ควรรู้

CTRL+C --คัดลอก 

CTRL+X --ตัด/ย้าย 

CTRL+V --วาง (ใช้คู่กับคำสั่งคัดลอก/ตัด) 

CTRL+Z --ยกเลิกการทำงานครั้งล่าสุด 

DELETE --ลบโดยไปพักที่ถังขยะ 

SHIFT+DELETE --ลบโดยไม่ต้องพักที่ถังขยะ 

CTRL กดค้างไว้+คลิกเลือกไฟล์ --เป็นการเลือกแบบเฉพาะเจาะจง 

CTRL+SHIFT กดค้างไว้ แล้วคลิกที่ไฟล์แรก และไฟล์สุดท้าย --จะเป็นการเลือกตั้งแต่ 
ไฟล์แรกถึงไฟล์สุดท้ายทั้งหมด 

F2 --เปลี่ยนชื่อแฟ้ม 

CTRL+RIGHT ARROW --ไปยังคำต่อไป (ด้านขวามือ) 

CTRL+LEFT ARROW --ไปยังคำก่อนหน้า (ด้านซ้ายมือ) 

CTRL+DOWN ARROW --ไปยังย่อหน้าต่อไป (ลงล่าง) 

CTRL+UP ARROW --ไปยังย่อหน้าต่อไป (ขึ้นบน) 

CTRL+SHIFT --ทำ Highlight ทั้งบรรทัด 

SHIFT+ปุ่มลูกศร --ทำ Highlight เฉพาะส่วนที่เลือก 

CTRL+A --เลือกทั้งหมด 

F3 --ค้นหา 

ALT+ENTER --ดู properties 

ALT+F4 --ปิดโปรแกรมที่ใช้งานในปัจจุบัน 

ALT+SPACEBAR --เปิด shortcut menu ของหน้าจอที่ใช้งานอยู่ 

CTRL+F4 --ปิดโปรแกรมที่ใช้อยู่ทั้งหมด 

ALT+TAB --สลับหน้าจอระหว่างโปรแกรมที่ 1 ไปโปรแกรมที่ 2 3 4 

ALT+ESC (Cycle through items in the order that they had been opened) 

F6 key (Cycle through the screen elements in a window or on the desktop) 

F4 --แสดงรายการใน Address bar 

SHIFT+F10 --เหมือนการคลิกขวาที่เม้าส์ 

CTRL+ESC --เหมือนการคลิกที่ปุ่ม Start 

ALT+Underlined letter in a menu name (Display the corresponding menu) 

Underlined letter in a command name on an open menu (Perform the 
corresponding command) 

F10 key (Activate the menu bar in the active program) 

RIGHT ARROW --เปิดเมนูถัดไปทางขวาหรือเปิดเมนูย่อยทางขวา 

LEFT ARROW --เปิดเมนูถัดไปทางซ้ายหรือเปิดเมนูย่อยทางซ้าย 

F5 key --รีเฟรชหน้าจอปัจจุบัน 

BACKSPACE --แสดงโฟลเดอร์ที่อยู่เหนือขึ้นไป 1 ระดับ 

ESC --ยกเลิก
 
SHIFT เมื่อใส่แผ่น CD-ROM --หยุดยั้งการเปิดแผ่นแบบอัตโนมัติ 

Dialog Box Keyboard Shortcuts /เกี่ยวกับไดอะล็อก 

CTRL+TAB --ไปในแถบต่อไป 

CTRL+SHIFT+TAB --ไปในแถบก่อนหน้า 

TAB --เลื่อนไปยังส่วนต่อไป 

SHIFT+TAB --เลื่อนไปยังส่วนก่อนหน้า 

ALT+Underlined letter (Perform the corresponding command or select 
the corresponding option) 

ENTER --ตกลง 

SPACEBAR --เลือก/ไม่เลือกใน check box

Arrow keys (Select a button if the active option is a group of option buttons) 

F1 key --Help 

F4 key --แสดงรายการที่ active อยู่ 

BACKSPACE --แสดงโฟลเดอร์ที่อยู่เหนือขึ้นไป 1 ระดับ 

Microsoft Natural Keyboard Shortcuts /ทั่วไป ๆ 

Windows Logo --แสดง/ซ่อน Start menu 

Windows Logo+BREAK --แสดง System Properties 

Windows Logo+D --แสดงหน้าจอ desktop 

Windows Logo+M --ย่อหน้าต่างงานทั้หมด 

Windows Logo+SHIFT+M --โชว์หน้าต่างงานที่เราย่อไว้ (ยกเลิกการย่อหน้าต่าง) 

Windows Logo+E --เปิด My computer 

Windows Logo+F,CTRL+Windows Logo+F --ค้นหา 

Windows Logo+F1 --Help 

Windows Logo+ L --ล็อค keyboard 

Windows Logo+R --Run 

Windows Logo+U --Utility Manager 


ปรับปรุงข้อมูล : 1/1/2557 0:00:00     ที่มา : งานระบบเครือข่ายและบริการอินเทอร์เน็ต     จำนวนผู้เปิดอ่าน : 2685

กลุ่มข่าวสาร : ข่าวกิจกรรม

ข่าวล่าสุด

โครงการสัมมนา“ChatGPT กับการเพิ่มประสิทธิภาพการทํางาน”
คุณธนชาต วิวัฒนภูติ Business Development & Marketing Manager จากบริษัท ลานนาคอม จำกัด ที่ได้มาให้ความรู้โครงการ "ChatGPT กับการเพิ่มประสิทธิภาพการทำงาน" กองเทคโนโลยีดิจทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้ดำเนินการจัดโครงการสัมมนา“ChatGPT กับการเพิ่มประสิทธิภาพการทํางาน” เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน ประยุกต์ใช้ให้ทันโลกแห่งการเปลี่ยนแปลง เรียนรู้วิธีการใช้งาน ChatGPT ให้เป็นประโยชน์ต่อมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ในวันพฤหัสบดีที่ 22 มิถุนายน 2566 เวลา 9.00-12.00 น. ผ่านระบบ Webinar MS Teamsเอกสารที่เกี่ยวข้องวิดีโอโครงการสัมมนา“ChatGPT กับการเพิ่มประสิทธิภาพการทํางาน” ช่วงที่ 1วิดีโอโครงการสัมมนา“ChatGPT กับการเพิ่มประสิทธิภาพการทํางาน” ช่วงที่ 2
16 กรกฎาคม 2566     |      316
พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA)
หนึ่งในปัญหาสำคัญที่นำไปสู่การออกกฎหมาย PDPA คือ การที่ข้อมูลส่วนบุคคลรั่วไหลสู่สาธารณะ โดยเฉพาะในปัจจุบันที่ข้อมูลต่างๆ ถูกแปลงให้อยู่ในรูปดิจิทัลมากขึ้น ซึ่งข้อมูลส่วนบุคคลสามารถหลุดออกไปได้หลากหลายช่องทางโดยบางครั้งเจ้าของข้อมูลก็ไม่รู้ตัว เช่น การโพสต์ข้อมูลส่วนบุคคลลงสื่อสังคมออนไลน์ การใช้บริการแอปพลิเคชันต่างๆ แล้วกดตกลงให้ความยินยอมในการให้ข้อมูลเองโดยไม่อ่านรายละเอียด การโดนแฮ็กหรือเจาะขโมยข้อมูล การถูกหลอกลวงด้วยวิธีต่างๆ เช่น Phishing เป็นต้น การรั่วไหลหรือขโมยข้อมูลส่วนบุคคลอาจนำไปสู่ความเสียหายดังต่อไปนี้ • ถูกนำไปใช้ในทางผิดกฎหมาย เช่น เลขบัตรประชาชนถูกนำไปใช้เปิดบัญชีเพื่อฉ้อโกงผู้อื่น คลิปส่วนตัวถูกข่มขู่แบล็กเมล เป็นต้น • โดนจารกรรมทางการเงิน ไม่ว่าจะเป็นการใช้หมายเลขบัตรเครดิตไปซื้อสินค้า หรือโอนเงินจากบัญชีธนาคาร • ถูกนำไปทำการตลาดต่อ ส่งผลให้เจ้าของข้อมูลถูกรบกวนด้วยโฆษณา ขายสินค้าและบริการต่างๆ • ถูกปลอมแปลงตัวตน แล้วเอาไปแอบอ้างทำเรื่องเสียหายหรือผิดกฎหมายเพื่อคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของประชาชนไทย ไม่ว่าจะเป็น ชื่อ ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ บัญชีธนาคาร อีเมล ไอดีไลน์ บัญชีผู้ใช้ของเว็บไซต์ ลายนิ้วมือ ประวัติสุขภาพ รวมไปถึงข้อมูลอื่นๆ ที่สามารถระบุถึงตัวเจ้าของข้อมูลนั้นได้ ทั้งในรูปแบบเอกสาร กระดาษ หนังสือ หรืออิเล็กทรอนิกส์ กฎหมาย PDPA จึงถูกพัฒนาและเตรียมบังคับใช้งานอย่างเต็มรูปแบบในวันที่ 1 มิถุนายน 2022 นี้ หลักสำคัญของกฎหมาย PDPA สามารถสรุปได้เป็น 6 ประเด็น ดังนี้ 1. เจ้าของข้อมูลมีสิทธิ์ลบ เพิ่ม ห้าม แก้ไข และเข้าถึงข้อมูลส่วนบุคคลของตัวเองได้ 2. ต้องให้ความสะดวกในการขอเพิกถอนสิทธิ เช่นเดียวกับตอนที่ขอข้อมูลมาจากเจ้าของข้อมูลในตอนแรก 3. เก็บข้อมูลส่วนบุคคลเท่าที่จำเป็น ตามวัตถุประสงค์ในการขอข้อมูลมา 4. เมื่อพบข้อมูลรั่วไหล ต้องแจ้งเจ้าของข้อมูลและผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งหมดภายใน 72 ชั่วโมง 5. ต้องมีผู้ดูแล รับผิดชอบ และควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล 6. โทษปรับสูงสุดไม่เกิน 5,000,000 บาท โดยอาจมีความผิดทั้งทางอาญาและทางแพ่ง ไม่ว่าจะเป็น Data Controllers หรือ Data Processors 8 ขั้นตอนการเตรียมความพร้อมขององค์กรก่อน PDPA ประกาศใช้ มีคำแนะนำสำหรับการเตรียมความพร้อมขององค์กรในภาพใหญ่ 8 ข้อ ดังนี้ 1. ทำความเข้าใจว่ากฎหมาย PDPA คืออะไร 2. ตั้งงบประมาณ 3. แต่งตั้งทีมรับผิดชอบ 4. กำหนดประเภทข้อมูลและวัตถุประสงค์ 5. เตรียมข้อกำหนด แนวทางปฏิบัติในการปกป้องข้อมูลตามที่กฎหมายกำหนด 6. สร้างความตระหนักรู้ให้กับเจ้าของข้อมูลและประชาสัมพันธ์ให้กับบุคลากรที่เกี่ยวข้อง 7. พัฒนาทักษะและกระบวนการตรวจสอบ 8. ปรับปรุงกระบวนการและออกแบบให้เหมาะสมกับการคุ้มครองข้อมูงส่วนบุคคลอยู่เสมอ สำหรับขั้นตอนในการรับมือกฎหมาย PDPA โดยละเอียดได้แบ่งออกเป็น 5 ขั้นตอน คือ 1. Data Discovery ค้นหาและตรวจสอบข้อมูลส่วนบุคคล 2. Privacy Policy กำหนดการใช้หรือการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล 3. Security Measurement วางมาตรการด้านความมั่นคงปลอดภัยสำหรับปกป้องข้อมูลส่วนบุคคล 4. Data Transfer วางระบบการบริหารจัดการ การส่ง หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล 5. DPO แต่งตั้งผู้กำกับดูแลข้อมูลส่วนบุคคล PDPA in Action เมื่อนำกฎหมาย PDPA มาแปลงให้อยู่ในระบบสารสนเทศ จะประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก คือ Data Subject Request, Front-end (DPO) และ Back-end System เอกสารที่เกี่ยวข้องกับ PDPAเอกสารโครงการเตรียมความพร้อมรองรับพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA) วันอังคารที่ 26 เมษายน 2565 วิดีโอโครงการฝึกอบรม “ความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.2562” วันศุกร์ ที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2566เอกสารอ้างอิงของมหาวิทยาลัยแม่โจ้คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานเพื่อศึกษาและวางแนวนโยบายในการดำเนินการตามพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.2562ประกาศมหาวิทยาลัยแม่โจ้ เรื่องนโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลCookies-Policy - MJUข้อตกลงการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล - MJUคำประกาศเกี่ยวกับความเป็นส่วนตัว-Privacy-Notice-MJUนโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล-Privacy-Policy - MJUแนวปฎิบัติสำหรับการดำเนินการของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล - MJUบันทึกรายการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลของ-MJUเอกสารแสดงความยินยอม-Consent-Form - MJU
22 พฤษภาคม 2566     |      855